จิตวิทยามีประโยชน์จริงรึเปล่า?

มีความเข้าใจในพฤติกรรมของมนุษย์
คนเรามีอวัยวะที่ครบถ้วนเหมือนกัน แต่ละคนมีความแตกต่างอยู่ในตัวคนๆ นั้นไม่มากก็น้อย Continue reading “จิตวิทยามีประโยชน์จริงรึเปล่า?”
บิดาแห่งจิตวิทยาโลกคือใคร

ย้อนไปเมื่อ 161 ปีที่แล้ว เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2399 ซิกมันด์ ฟรอยด์ แพทย์และนักจิตวิทยาชาวออสเตรเลียเชื้อสายยิว ซึ่งเป็นบิดาของ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ลืมตามาดูโลก เค้าเกิด
เทคนิคการอ่านใจคนด้วยจิตวิทยา

มนุษย์ เรามีความซับซ้อนทางจิตใจ สมอง และการแสดงออกมาก ทำให้การ อ่านใจคน เป็นเรื่องที่ยาก การกระทำกับคำพูดจะสวนทางกัน โดยที่เราไม่ทันเอะใจเลยสักนิดเดียว หรือไม่ก็เป็นการโกหกโดยที่เราไม่รู้ตัว
ประวัติและความเป็นมาของจิตวิทยา

จิตวิทยาเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน ที่พยายามค้นหาความหมายของ จิต ซึ่งในระยะแรกก็คิดถึงหัวใจและสมอง ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งของความคิด ต่อมาในยุคทศวรรษที่ 19 การศึกษาจิตวิทยาแยกออกเป็นสองทาง คือแนวปรัชญาและแนววิทยาศาสตร์กายภาพและชีวะภาพ ผู้นำแนวคิดทางปรัชญาคือจอห์น ล็อค เป็นนักปรัชญาชาวอังกฤษ ได้รับฉายาว่าเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาแผนใหม่ ซึ่งให้ความสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการคิดที่มีความสัมพันธ์กับจิต และความรู้ทั้งหมดของบุคคลเกิดจากการที่ประสาทสัมผัสปะทะกับโลกกายภาพ เขาเชื่อว่าจิต เปรียบเสมือนกระดาษที่ว่างเปล่า แต่เมื่อบุคคลมีประสบการณ์ที่ได้รับจากประสาทสัมผัส ทำให้
7 สัญญาณเตือน ควรไปพบจิตแพทย์

ในสมัยนี้นั้นอาการป่วยทางจิตใจต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โรคซึมเศร้า หรืออื่นๆ นั้นสามารถเกิดขึ้นได้อย่างง่ายได้ โรคเครียดก็เป็นอีกหนึ่งโรคที่ไม่แปลกใจเลยที่จะพบเจอได้ง่ายสำหรับยุคสมัยนี้ที่มีการแข่งขันที่สูงขึ้น เพราะเรื่องของจิตใจและอารมณ์นั้นเป็นอะไรที่อธิบายได้ค่อนข้างยาก มีความละเอียดอ่อน และความซับซ้อนที่สูงเลยทีเดียว และการแสดงออกอย่างไม่มีเหตุผลบาง